แคมเปญการตลาดแบบ Emotional Marketing ที่จะเล่าให้ฟังต่อจากนี้ เป็นแคมเปญการตลาดที่สร้าง New Value Propositioning ใหม่ให้กับแบรนด์ Fast
Tag: Retail
อย่างที่ทุกคนรู้ว่าเทรนด์ของ New normal นั้นกำลังมาแรงและกำลังเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการใช้ชีวิตของเราบางอย่างไป และหนึ่งในนั้นก็คือการไปซุปเปอร์มาร์เกตนั่นเองค่ะ สังเกตมั้ยคะว่าตอนที่เราเดินเข้าประตูนั้น มักจะมีความกังวลอยู่หลายจุด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้สิ่งของร่วมกับคนอื่น หรือแม้กระทั่งไม่อยากออกไปข้างนอก แต่จำเป็นต้องออกไปซื้อของ
โจทย์ที่ท้าทายของธุรกิจในวันนี้ คือการปรับตัวให้สอดรับกับ Digital Disruption, พฤติกรรมของลูกค้า หรือแม้แต่ Media landscape ที่เปลี่ยนไป ก่อให้เกิดข้อจำกัดต่างๆ
Case study การทำ Personalized Marketing ของ Chipotle ธุรกิจร้านอาหารที่มีฐานลูกค้าหลายสิบล้านด้วยระบบ Customer Data
กลุ่มลูกค้าที่เป็นระดับ Exclusive หรือ Luxury นั้นเป็นที่รู้กันดีว่าถูกต้องมองตาเป็นมันจากบรรดานักการตลาดและแบรนด์ต่างๆ เลยทำให้แบรนด์ต่างๆ ต้องพยายามสรรหา Privilege และ Promotion
การทำ Marketing หรือ Branding ส่วนใหญ่เรามักจะมองไปที่การทำแคมเปญการตลาดปังๆ การทำแคมเปญโฆษณาว้าวๆ หรือแม้แต่การสร้างไวรัล PR มากมายให้คนพูดถึงแล้วอยากเดินเข้ามาหาเรา แต่รู้มั้ยครับว่าสิ่งหนึ่งที่สำคัญมากของการตลาดไม่ใช่แค่ทั้งหมดที่กล่าวมา
เมื่อการตลาดแบบ Personalization กำลังกลายเป็น New Normal of Marketing ที่ต้องอาศัยทั้งความเข้าใจและความพร้อมขององค์กรอย่างมากเพราะมันไม่ง่ายอย่างที่คิด
ในบทแรกเราคุยกันเรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าหรือ Customer Data Analytics นั้นสำคัญอย่างไรในวันนี้ ในวันนี้เราคุยมาคุยกันในรายละเอียดว่า แล้วมีธุรกิจไหนบ้างที่วิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าแล้วเกิดดอกออกผลจริงๆ แล้วเราจะมาคุยกันต่อถึงสิ่งที่ต้องรู้ก่อนเริ่มทำ Customer Analytics
รายงานด้านคอมเมิร์ซฉบับล่าสุดของ Adobe เผย ลูกค้าใน APAC ให้ความสำคัญกับ Customer Experience หรือประสบการณ์ซิ้อสินค้าและรับบริการที่ยอดเยี่ยมจากแบรนด์สินค้าออนไลน์มากขึ้น นอกจากนี้ ลูกค้าออนไลน์รีเทลยินดีที่จะเปิดรับประสบการณ์และเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ระบบโต้ตอบอัตโนมัติและเอไอ ขณะเดียวกันพวกเขายังอยากเห็นแบรนด์เหล่านี้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
Situation เวลาเราไปชุปเปอร์มาร์เก็ตยามวันหยุดตอนต้นเดือนที่เงินออก มักจะเจอปัญหาคลาสสิคคล้ายๆกันคือ ใครๆก็แห่กันมาช็อปปิ้งซื้อของเข้าบ้าน แถมแต่ละคนยังไม่ได้ซื้อแค่ชิ้นสองชิ้น แต่ซื้อทีก็เตรียมไปตุนกันน้อยๆมีหนึ่งอาทิตย์ยันยาวไปถึงทั้งเดือน นึกสภาพของเต็มรถเข็น แถมคนก็ยังต่อคิวกันเต็มจุดจ่ายเงินจนแน่นขนัด ตอนช็อปก็สนุกดีหรอก แต่ไอ้ตอนต้องต่อแถวจ่ายเงินนี่ไม่ค่อยสนุกเอาเสียเลย